นิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ระยะเวลา 25 กุมภาพันธ์ 2559 - 22 เมษายน 2559
Skip รายวิชาที่มีอยู่
รายวิชาที่มีอยู่
ธุรกิจเช่าเรือ
หลักการขนส่งสินค้าทางทะเล
-ภาพรวมและความหมายของคำว่าโลจิสติกส์
-วิวัฒนาการของโลจิสติกส์
-โลจิสติกส์กับการบริหารการจัดการองค์ความรู้
การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
หลักการจัดการขนส่งสินค้าทางทะเลเบื้องต้น
คิธิบายรายวิชา
ความหมายของการขนส่งสินค้าทางทะเลเบื้องต้น ลักษณะและการดำเนินงานโดยรวมของธุรกิจพาณิชย์นาวี นับแต่ประเภทของเรือที่ใช้ในธุรกิจพาณิชย์นาวี เช่น เรือขนส่งทางแม่น้ำ ทางทะเล และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง เช่น การประกันภัยทางทะเล ทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในหลักการ และทฤษฎีพื้นฐานด้านพาณิชย์นาวี นอกจากนี้ยังศึกษารูปแบบองค์กร การจัดองค์กรที่สนับสนุนการขนส่งทางน้ำ รวมทั้งศึกษาถึงขั้นตอนการขนส่งทางแม่น้ำ และทางทะเล นับตั้งแต่การจองระวางเรือ การคิดค่าระวาง รวมถึงความปลอดภัยด้านการขนส่งทางน้ำ
ความหมาย
บรรดางานทุกอย่าง หรือกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ที่ดำเนินอยู่นั้น ไม่มีสิ่งใดสำคัญกว่าการบริหารหรือการจัดการ เพราะการบริหารและการจัดการ เป็นงานสำคัญต่อการอำนวยให้มนุษย์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เศรษฐกิจไทยต้องพึ่งพาการค้าระหว่างประเทศเป็นหลัก มูลค่าการค้าระหว่างประเทศร้อยละ 95 เป็นการขนส่งทางทะเล และองค์กรที่เกี่ยวข้องในธุรกิจพาญิชยนาวีจึงมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทย
คำว่า ธุรกิจพาณิชยนาวี มิได้มีความหมายจำดัเพียงบริษัทเดินเรือ พระราชบัญณัติส่งเสริมการพาณิชยนาวี พ.ศ. 2521 ได้กำหนดคำนิยามการพาณิชยนาวีคือ การขนส่งทางทะเล การประกันภัยทางทะเล การเดินเรือ กิจการอู่เรือ และกิจการท่า
จริยธรรม คือ แขนงหนึ่งของวิชาปรัชญา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความดีงามทางสังคมของมนุษย์ว่า จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว มาจากคำ 2 คำคือ จริย กับธรรม ซึ่งแปลตามศัพท์ คือ จริยะ แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ คำว่า ธรรม แปลว่า คุณความดี คำสั่งสอนในศาสนา หลักปฏิบัติในทางศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความถูกต้อง กฎเกณฑ์ เมื่อเอาคำ จริยะ มาต่อกับคำว่า ธรรม เป็นจริยธรรม แปลเอาความหมายว่า กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงที่เป็นแนว
จริยธรรม คือ แขนงหนึ่งของวิชาปรัชญา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความดีงามทางสังคมของมนุษย์ว่า จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว มาจากคำ 2 คำคือ จริย กับธรรม ซึ่งแปลตามศัพท์ คือ จริยะ แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ คำว่า ธรรม แปลว่า คุณความดี คำสั่งสอนในศาสนา หลักปฏิบัติในทางศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความถูกต้อง กฎเกณฑ์ เมื่อเอาคำ จริยะ มาต่อกับคำว่า ธรรม เป็นจริยธรรม แปลเอาความหมายว่า กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงที่เป็นแนว
กิจการธุรกิจพาณิชยนาวีแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
-
กิจการที่ให้บริการในทะเล (ON SHORE)
-
ธุรกิจการเดินเรือทะเล
-
ธุรกิจการเดินเรือชายฝั่ง
-
กิจการให้บริการบนฝั่ง (OFF SHORE)
-
กิจการท่าเรือ
-
อู่ต่อเรือ ซ่อมเรือ
-
กิจการยกขนสินค้าท่าเรือ
-
สถานีตู้สินค้า (CFS : CONTAINER FREIGHT STATION)
-
ท่าเรือบก (ICD : INLAND CONTAINER DEPOT)
-
ธุรกิจตัวแทนจัดการขนส่ง (FF : Freight forwarder)
แนวคิดที่มาของจริยธรรและเหตผลที่ธุรกิจต้องมีจริยธรรม รวมทั้งการสร้างจริยธรรมในองค์กรธุรกิจเน้นจริยธรรมของผู้บริหาร และของพนักงาน โดยใช้กรณีตัวอย่างประกอบ เพื่อสร้างจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจและนำไปสู่ความตระหนักและรับผิดชอบช่วยเหลือสังคม และเชื่อมโยงความรับผิดชอบสู่การทำธุรกิจ สร้างการให้ของภาคธุรกิจ หรือ "การรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม"
หมายถึง ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชาเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนสอดคล้องและเป็นไปตามที่วางแผนไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร ซึ่งแต่ละรายวิชาจะกำหนดไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และรายละเอียดของเนื้อหาความรู้ในรายวิชา แนวทางการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆที่นักศึกษาจะได้รับการพัฒนาให้ประสบความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา มีการกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาที่ใช้ในการเรียน วิธีการเรียน การสอน การวัดและประเมินผลในรายวิชา ตลอดจนหนังสืออ้างอิงที่นักศึกษาจะสามารถค้นคว้าได้ นอกจากนี้ยังกำหนดยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชาและกระบวนการปรับปรุง
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบความหมาย ความเป้นมา และหลักการ ขอบข่าย หน้าที่ความรับผิชอบ ขั้นตอนแนวคิด การแสวงหา แะลการสรรหา กรประเมินผล และการบริหารค่าตอบแทน